Angthong Hospital

  • 035 615 111
  • 035 612 151

ป้ายกำกับ: ไข้เลือดออก

7 รายการ หน้าที่1

  • โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา (Ebola) คืออะไร

    โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา (Ebola)คืออะไร ช่วงนี้เราจะได้ยินข่าวเกี่ยวกับการระบาดของเชื้อไวรัสอีโบลากันอยู่อย่างต่อเนื่อง เนื่องจากการระบาดได้มีความรุนแรงมากขึ้น แต่เพื่อเป็นการไม่ให้เป็นการตื่นตระหนกจนเกินไป เราจึงนำความรู้เกี่ยวกับ ‘โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา’ จากสำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
  • สาธารณสุขมะกันเตือน “ไวรัสมรณะอีโบลา” อาจระบาดลามทั่วเหมือน “ไฟป่า”

    เอเอฟพี - หน่วยงานสาธารณสุขสหรัฐฯเตือน ไวรัสมรณะ “อีโบลา” อาจแพร่ระบาดลุกลามเหมือน “ไฟป่า” พร้อมแนะนำให้ผู้ที่จำเป็นต้องเดินทางไปยังภูมิภาคแอฟริกาตะวันตกในช่วงนี้เรียนรู้ที่จะป้องกันตนเองจากเชื้อร้าย ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคสหรัฐฯ (Centers for Disease Control and Prevention - CDC) แถลงวันนี้ (29) ว่า
  • โรคไวรัสอีโบลา

    โรคไวรัสอีโบลาหรือไข้เลือดออกอีโบลาเป็นโรคของมนุษย์ที่เกิดจากไวรัสอีโบลา เริ่มมีอาการสองวันถึงสามสัปดาห์หลังสัมผัสกับไวรัส โดยมีไข้เจ็บคอ ปวดกล้ามเนื้อและปวดศีรษะจากนั้นมีคลื่นไส้ อาเจียนและท้องร่วงร่วมกับการทำหน้าที่ของตับและไตลดลง เมื่อถึงจุดนี้ บางคนเริ่มมีปัญหาเลือดออก
  • การป้องกันโรคไข้เลือดออก

    1.ป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงกัด ซึ่งทำได้หลายวิธี ควรกรุหน้าต่าง ประตู และช่องมด้วยมุ้งลวดตรวจตราซ่อมแซมฝาบ้าน ฝ้าเพดาน อย่าให้มีร่อง ช่องโหว่หรือรอยแตก เพื่อป้องกันไม่ให้ยุงลายเข้ามาในบ้าน เวลาเข้า - ออกควรใช้ผ้าปัดประตูมุ้งลาดก่อน เพื่อไล่ยุงลายที่อาจจะเกาะอยู่ตามที่ต่าง ๆ
  • ยุงลาย Aedes aegypti พาหะนำโรคไข้เลือดออก

    การระบาดของไข้เลือดออกในประเทศไทย และส่วนใหญ่ในประเทศเอเซียเกิดจากการกัดของยุงลายหรือที่เรียกว่า Aedes aegypti แหล่งที่อยู่ยุงลาย ยุงลายจะพบมากในเขตร้อนชื้นโดยเฉพาะในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ยุงชนิดนี้จะพบมากในเขตชุมชนโดยเฉพาะในถิ่นที่แออัด เนื่องจากมีแหล่งน้ำให้ยุงแพร่พันธุ์
  • อาการและการรักษาโรคไข้เลือดออก

    อาการทางคลินิกของโรคไข้เลือดออก หลังจากได้รับเชื้อจากยุงประมาณ 5-8 วัน (ระยะฟักตัว) ผู้ป่วยจะเริ่มมีอาการของโรค ซึ่งมีความรุนแรงแตกต่างกันได้ ตั้งแต่มีอาการคล้ายไข้เดงกี่ (dengue fever หรือ DF) ไปจนถึงมีอาการรุนแรงมากจนถึงช็อกและถึงเสียชีวิตได้ โรคไข้เลือดออกมีอาการสำคัญที่เป็นรูปแบบค่อนข้างเฉพาะ 4 ประการ
  • 6 โรคอันตรายมากับสายฝน แนะกินอาหารที่เหมาะสม

    ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (TCELS) โดยศูนย์เวชศาสตร์อายุรวัฒน์นานาชาติ ออกโรงเตือนโรคที่มากับสายฝน ฤดูแห่งไวรัสและสารพัดโรคที่มากับน้ำ นพ.กฤษดา ศิรามพุช ผู้อำนวยการศูนย์เวชศาสตร์อายุรวัฒน์นานาชาติ กล่าวว่า น้ำฝนนอกจากจะนำความชุ่มฉ่ำ สดชื่น มาให้