Angthong Hospital

  • 035 615 111
  • 035 612 151

หมวดหมู่: บทความ

281 รายการ หน้าที่ 1

  • เป็นโรคบ้างาน เผาผลาญหัวใจ

    นักวิจัยของคณะเวชศาสตร์ป้องกัน มหาวิทยาลัยแห่งชาติโซล ของเกาหลีใต้ ศึกษาพบว่าผู้ที่ทำงานมากเกินกว่าอาทิตย์ละ 40 ชม. อาจจะเสี่ยงกับการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจหรือหลอดเลือดหัวใจตีบตันได้ พวกเขายังศึกษาออกมาได้ว่า “ผู้ที่ทำงานหนักเกิน นานระหว่าง 61-70 ชม.จะเสี่ยงที่จะเป็นโรคขึ้นภายในระยะเวลาไม่เกิน 10 ปีข้างหน้า
  • สูงวัยไม่ไร้ค่า

    ที่พบบ่อยคือโรคของหลอดเลือดเสื่อม เช่น หลอดเลือดหัวใจตีบตัน ทำให้ถึงแก่กรรม โรคของหลอดเลือดสมองตีบตัน ทำให้เกิดความพิการ เช่น อัมพาต อัมพฤกษ์ และโรคสมองเสื่อม การเสื่อมของหลอดเลือด สามารถป้องกันเพื่อชะลอการเสื่อมได้ การจะให้มีสุขภาพกายแข็งแรงจะต้องปฏิบัติดังนี้ 2.1 การออกกำลังกาย
  • ลดความอยากอาหาร ช่วยลดอ้วน

    นพ.ฆนัท ครุทกุล เลขานุการเครือข่ายคนไทยไร้พุง แพทย์ผู้เชี่ยวชาญโภชนวิทยาคลินิก รพ.รามาธิบดีให้คำแนะนำที่มีประโยชน์ไว้ว่า สิ่งสำคัญในการลดน้ำหนักจริงๆ คือ การบริโภคอาหารให้ครบทั้ง 3 มื้อ ไม่ควรอดอาหาร เพราะจะนำไปสู่การบริโภคอาหารเพิ่มมากขึ้น โดยคุณหมอให้คำเพิ่มเติมไว้ดังนี้ ควร: กินมื้อเช้า
  • หัวล้านเสี่ยงมะเร็งต่อมลูกหมาก

    นักวิจัยไมเคิล ยี. คุ้ก อธิบายว่าเท่าที่ศึกษามาลักษณะแบบนี้จะเป็นเฉพาะกับผู้ชายที่ศีรษะล้านบางแบบเท่านั้น โดยเฉพาะพวกที่ล้านแถวด้านหน้า แล้วค่อยบางลงตรงกระหม่อม “แต่เราก็ไม่ค่อยมองพบ ผู้ชายที่ศีรษะล้านแบบอื่นจะเสี่ยงกับโรคมะเร็งต่อมลูกหมากมากนัก”
  • ขมิ้นช่วยปราบมะเร็งลำไส้

    สารนั้นได้แก่ขมิ้นซึ่งเป็นส่วนผสมของแกงกะหรี่อย่างหนึ่ง เคยถูกกล่าวขวัญว่ามีประโยชน์ต่อสุขภาพหลายอย่าง ตลอดจนคนไข้โรคหลอดเลือดสมองและโรคสมองเสื่อมด้วย เคยพบในการศึกษาว่า มันสามารถฆ่าเซลล์มะเร็งในห้องปฏิบัติการทดลอง และบัดนี้ได้มีการทดลองอยู่ในโรงพยาบาลเมืองเลสเตอร์หลายแห่ง
  • กินผักผลไม้เพื่อ ร่างกายและจิตใจ

    นักวิจัยได้พบว่า ผู้ที่กินผักและผลไม้มากถึงวันละ 5 หนขึ้นไป มีจำนวนมากถึงร้อยละ 33.5 ล้วนแต่มีสุขภาพจิตดีเยี่ยม เมื่อเทียบกับคนที่กินผักและผลไม้น้อยวันละหน จะมีอยู่แค่ร้อยละ 6.8 เท่านั้นที่จะมีระดับสุขภาพจิตดี ผู้ที่มีสุขภาพจิตต่ำ มักจะเป็นผู้ป่วยที่มีอาการทางจิตและปัญหาสุขภาพจิตอื่นๆ ในขณะที่ผู้ที่มีสุขภาพจิตดี
  • 5 เคล็ดลับป้องกัน พฤติกรรม"สังคมก้มหน้า"

    1. เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม พักสายตา 2-3 นาทีต่อการใช้ 30 นาทีหรือ 1 ชั่วโมง กะพริบตาบ่อยๆ 10-15 ครั้งต่อนาที 2. นั่งทำงานในที่สว่าง ปรับขนาดตัวหนังสืออ่านง่าย 3. ใส่แว่นกันแดดเพื่อลดปริมาณแสงเข้าดวงตา 4 รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ เช่น ผัก ผลไม้ที่มีวิตามินเอสูง อาทิ ราสเบอร์รี่ สตรอเบอร์รี่ ซึ่งช่วยด้านอนุมูลอิสระ
  • กินเจอย่างไรไม่ให้น้ำหนักขึ้น

    อาหารเจส่วนใหญ่นั้นมักมีส่วนผสมของน้ำมัน แป้ง และอื่นๆ ที่จะทำน้ำหนักขึ้นได้ สำหรับใครที่กินเจแล้วห่วงว่าน้ำหนักจะขึ้นในช่วงนี้ล่ะก็ เราก็มีเคล็ด(ไม่ลับ)สำหรับการกินเจไม่ให้น้ำหนักขึ้น 5 ข้อ มาฝากกัน จะมีอะไรบ้างนั้นตามไปอ่านกันเลย 1.เลือกกินข้าวหรือแป้งที่ไม่ขัดขาว”: เลือกกินอาหารจำพวก ข้าวกล้อง ลูกเดือย
  • 6 อาหาร-เครื่องดื่ม ไม่ควรรับประทานขณะท้องว่าง

    1.กล้วยเพราะกล้วยอุดมไปด้วยธาตุแมกนีเซียม การรับประทานกล้วย ขณะท้องว่าง จะทำให้ปริมาณธาตุแมกนีเซียมในเลือดสูงขึ้น ทำให้สูญเสียสัดส่วนของแคลเซียมและแมกนีเซียมไป เป็นการยับยั้ง การทำงานของหลอดเลือดหัวใจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ อย่างยิ่ง 2.กระเทียมเพราะจะทำให้เยื่อบุกระเพาะอาหาร ได้รับการกระตุ้นเกิด
  • โรคซึมเศร้า

    นอกจากการกินยาแล้ว จิตแพทย์จะให้การบำบัดด้วยการ "ปรับความคิดเปลี่ยนพฤติกรรม"(CognitiveBehavioral Therapy) เพื่อให้ผู้ป่วยมีมุมมองทางบวกต่อตนเองและโลกภายนอก เห็นทางออกของปัญหา และตระหนักถึงศักยภาพของตนเองในการเผชิญเรื่องท้าทายของชีวิต รวมทั้งการปรับเปลี่ยน รูปแบบในการดำเนินชีวิต (Life style) เพื่อสร้างความรื่นร